เรื่องเล่าและบทความ

null
บทความพิเศษเรื่องเล่าและบทความ

มูให้สุด หยุดที่วังหน้า! สรงน้ำพระธาตุและเทวดานพเคราะห์รับปีใหม่ไทย

ร่วมสรงน้ำพระธาตุและเทวดานพเคราะห์ เสริมดวงรับสงกรานต์ 2568 ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร พร้อมนิทรรศการและกิจกรรมมู x คราฟต์

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

“สัปดาห์วันอนุรักษ์มรดกไทย ๒๕๖๘” สัมผัสมรดกทางศิลปวัฒนธรรมได้ตลอดสัปดาห์

สัปดาห์อนุรักษ์มรดกไทย ๒๕๖๘ เปิดฉากขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร งานจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๒ – ๘ เมษายน ๒๕๖๘ เปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมสัมผัส ศิลปะการแสดงไทย โขน ดนตรีไทย ละครพื้นบ้าน และกิจกรรมทางวัฒนธรรม มากมายแบบ ไม่มีค่าใช้จ่าย

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

พลาดไม่ได้! กรมศิลปากรเปิดพิพิธภัณฑ์ฟรี + กิจกรรมวัฒนธรรม 2-8 เม.ย.

กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม เชิญชวนประชาชนร่วมเฉลิมฉลองวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจำปี 2568 ในวันที่ 2 เมษายน โดยเปิดให้เข้าชมอุทยานประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทั่วประเทศโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย พร้อมจัดกิจกรรมพิเศษเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชาติ

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

“ล่องคลอง มองศิลป์ ถิ่นธนบุรี” ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ส่องมรดกวัฒนธรรมของกรุงธนบุรีผ่าน ‘ล่องคลอง มองศิลป์ ถิ่นธนบุรี’ เส้นทางท่องเที่ยวทางน้ำที่เชื่อมโยงศิลปะ ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตชุมชน ไม่ว่าจะเป็น วัดอินทารามวรวิหาร วัดอัปสรสวรรค์วรวิหาร วัดนางนองวรวิหาร วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร และวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร ซึ่งเป็นวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และได้รับการอนุรักษ์โดยกรมศิลปากร

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

กรมศิลป์จัดฉลองใหญ่!! สุดอลัง!! ‘ภูพระบาท’ มรดกโลกแห่งใหม่ของไทย

กรมศิลปากรเตรียมจัดงานเฉลิมฉลองครั้งยิ่งใหญ่ ในวาระ “อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท” ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกอย่างเป็นทางการจากองค์การยูเนสโก โดยงานจะจัดขึ้นในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 ณ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี ภายในงานจะมีกิจกรรมที่สะท้อนถึงคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

เก่าที่สุดในไทย!! โครงกระดูก 29,000 ปี ที่ แหล่งโบราณคดีภาพเขียนสีถ้ำดิน

กรมศิลปากรและกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมกันแถลงข่าวการค้นพบทางโบราณคดีครั้งสำคัญที่แหล่งโบราณคดีภาพเขียนสีถ้ำดิน ภายในอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยนักโบราณคดีได้ค้นพบโครงกระดูกมนุษย์ที่มีอายุมากกว่า 29,000 ปี ซึ่งนับเป็นหลักฐานของมนุษย์ยุคหินเก่าที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย เทียบได้กับช่วงปลายของยุคน้ำแข็ง (Pleistocene) ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ภูมิอากาศของโลกแตกต่างจากปัจจุบันอย่างมาก

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

เตรียมฉลอง”ภูพระบาท” มรดกโลกแห่งใหม่ของไทย!!

กระทรวงวัฒนธรรมเชิญชวนประชาชนร่วมงานประวัติศาสตร์รับมอบใบประกาศรับรอง “ภูพระบาท” เป็นมรดกโลกอย่างเป็นทางการจากยูเนสโก ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 ตั้งแต่เวลา 16.00 น. เป็นต้นไป ณ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี

อ่านเพิ่มเติม

หลักฐานใหม่!! พบโครงกระดูกมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่โนนพลล้าน

สำนักศิลปากรที่ 10 นครราชสีมา ร่วมกับนักโบราณคดีและอาสาสมัครจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เปิดเผยความคืบหน้าการขุดค้นแหล่งโบราณคดีโนนพลล้าน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาร่องรอยมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองเก่านครราชสีมา ล่าสุดพบ โครงกระดูกมนุษย์ 6 โครง โดย 2 โครงอยู่ในสภาพสมบูรณ์ พร้อมโบราณวัตถุสำคัญหลายรายการที่สะท้อนถึงวัฒนธรรมของชุมชนในสมัยเหล็ก อายุราว 1,500-2,400 ปี

อ่านเพิ่มเติม

กรมศิลปากรบวงสรวงพระพุทธสิหิงค์ ก่อนเริ่มโครงการอนุรักษ์ครั้งใหญ่!!

กรมศิลปากรจัดพิธีบวงสรวงพระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปสำคัญแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ก่อนดำเนินโครงการอนุรักษ์ครั้งใหญ่ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่อคงสภาพเดิมขององค์พระ และฟื้นฟูความงดงามโดยไม่กระทบต่อโครงสร้างและคุณค่าทางประวัติศาสตร์

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษเรื่องเล่าและบทความ

ซุโขทัย Light up : Light & Love ดื่มด่ำศิลปวัฒนธรรมยามค่ำคืน

กระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร โดยสำนักศิลปากรที่ 6 สุโขทัย ขอเชิญประชาชนและนักท่องเที่ยวร่วมงาน “ซุโขทัย Light up : Light & Love” เปิดโอกาสให้สัมผัสความงดงามของโบราณสถานในยามค่ำคืน พร้อมกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อนอัตลักษณ์ไทย ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ซึ่งจะจัดขึ้นทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตลอดเดือนกุมภาพันธ์ 2568

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

“ย้อนรอยการทูตสยาม: เมื่อยุโรปรู้จักประเทศไทยผ่าน Temples and Elephants”

กรมศิลปากร โดยสำนักหอสมุดแห่งชาติ ขอเชิญทุกท่านชมนิทรรศการ “ยลสยามผ่านหนังสือ Temples and Elephants” นิทรรศการที่สะท้อนพระอัจฉริยภาพของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสยามและยุโรป ซึ่งถือเป็นหมุดหมายสำคัญของการทูตไทยในยุคนั้น

อ่านเพิ่มเติม

กรมศิลปากรส่งความสุขปีใหม่ 2568 ด้วยกิจกรรมพิเศษทั่วประเทศ!!!!

ร่วมต้อนรับปีใหม่ 2568 กับกรมศิลปากรที่จัดเต็มกิจกรรมพิเศษเพื่อประชาชนและนักท่องเที่ยว ทั้งการเข้าชมพิพิธภัณฑ์และอุทยานประวัติศาสตร์ฟรี สักการะพระพุทธรูปสำคัญเพื่อความเป็นสิริมงคล และสัมผัสมรดกวัฒนธรรมยามค่ำคืน พร้อมทั้งโปรโมชั่นพิเศษสำหรับคนรักหนังสือ กิจกรรมทั้งหมดนี้จัดขึ้นเพื่อให้ทุกคนได้เฉลิมฉลองปีใหม่อย่างทรงคุณค่าและจดจำไปตลอดปี

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

พระราชพิธีสังเวยพระป้าย

ชาวจีนนั้นจะมีช่วงเวลาของการเซ่นไหว้บรรพบุรุษ อย่างใหญ่โต ๒ ครั้งในรอบปี คือพิธีไหว้ในวันตรุษจีน และพิธีไหว้ในวันสารทจีนอีกครั้งหนึ่ง การไหว้บรรพบุรุษ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ที่ได้เลี้ยงลูกหลานและให้การศึกษาอบรมเป็นอย่างดี เพื่อตอบแทนบุญคุณและระลึกถึงจึงจัดพิธีนี้ขึ้น

อ่านเพิ่มเติม
ขุนนางสยาม

พระราชวังสวนดุสิต

ภายหลังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินกลับจากทวีปยุโรป ในครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ พระองค์มีพระราชประสงค์จะสร้างพระราชนิเวศน์แห่งใหม่ เนื่องด้วยนายแพทย์ประจำพระองค์ชาวตะวันตกกราบบังคมทูลว่า พระบรมมหาราชวังมีอาคารปลูกสร้างแออัด สถานที่คับแคบ อากาศไม่ถ่ายเท ในฤดูร้อนจึงร้อนจัดเป็นเหตุให้ทรงประชวร

อ่านเพิ่มเติม
Renaissance Man

“M.B.S.” ตัวอย่างธรรมเนียมการใช้ตรา ร่วมกันทั้ง “ฝ่ายหน้า” และ “ฝ่ายใน” ที่มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕

อักษรพระนามและนามร่วมกันทั้ง “ฝ่ายหน้า” และ “ฝ่ายใน” รู้หรือไม่ว่า ในอดีตนั้นมีธรรมเนียมการผูกตราประจำพระองค์ของพระบรมวงศานุวงศ์ โดยใช้อักษรพระนามและอักษรนามร่วมกันกับ “ฝ่ายใน” ของเจ้านายพระองค์นั้นๆ ซึ่งมักจะใช้ตราเหล่านี้ในวาระโอกาส “อย่างลำลอง” เช่นพระราชหัตถเลขา ลายพระหัตถ์ส่วนพระองค์ หรือในวาระเหตุการณ์เนื่องในฝ่ายในพระองค์ / ท่านนั้นๆ

อ่านเพิ่มเติม
อารยสยาม

รู้หรือไม่ ! พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ ๒ ทรงเคย “ตกรางวัล” ให้ควาญช้างชาวสยามด้วย “พระธำมรงค์มรกตกับเพชรจากนิ้วพระหัตถ์”

“…การรับเสด็จทายาทของเมืองรัสเซียในครั้งนี้ เล่ากันมาว่าเป็นการใหญ่อย่างไม่เคยมี สิ่งไรที่ดีของไทยได้ทำถวายหมด แม้แต่ม่านก็ทำด้วยดอกไม้สดตามวิชาช่างของผู้หญิงไทย จนมีศัพท์ขึ้นใหม่เมื่อเห็นใครทำอะไรใหญ่โต ก็ถามกันว่า “รับซารวิชหรือวันนี้”
เสด็จพ่อทรงเล่าว่า เมื่อมีการรับเสด็จในกรุงเทพฯ แล้ว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงให้มีการคล้องช้างอย่างไทยถวายซารวิชทอดพระเนตรที่เพนียดเก่าในกรุงศรีอยุธยา ในสมัยนั้นกรมพระคชศาสตร์ (กองช้าง) อยู่ในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ และผู้เชี่ยวชาญในการช้างก็ยังมีอยู่มาก จึงเป็นการน่าดูอย่างยิ่ง

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

“มังกรตายที่ปักกิ่ง” ปฐมเหตุแห่งการล่มสลายของราชวงศ์ชิง – เรื่องเล่าจากการศึกษาภาพเก่าของจีนที่ค้นพบในสยาม

“…มีภาษิตจีนกล่าวว่า “ความมั่งคั่งสืบทอดไม่ถึงสามรุ่น” คำกล่าวนี้ใช้ได้กับทั้งการสืบทอดธุรกิจครอบครัวและการสืบทอดความมั่งคั่งและมั่นคงของแผ่นดิน ในสมัยราชวงศ์ชิง มียุคสมัยที่รุ่งเรืองจนกล่าวกันว่าเป็นยุคทองครั้งสุดท้ายของศักดินาจีน คือรัชสมัยของพระเจ้าคังซี พระเจ้ายงเจิ้ง และพระเจ้าเฉียนหลง รวม ๓ รัชกาล ยาวนานถึง ๑๓๔ ปี

อ่านเพิ่มเติม
บทความพิเศษ

เรื่องของพระธิดา “สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ” ประจำ “สำนักเรียนเป็นวิทยาลัย” ของฝ่ายในรัชกาลที่ ๕

“…ในสมัยก่อนรัชกาลที่ ๖ ขึ้นไปนั้น ในพระบรมมหาราชวัง คือมหาวิทยาลัยของผู้หญิงเรานี่เอง และตามตำหนักพระมเหสี เจ้านายและเจ้าจอมก็คือพวกสำนักเรียนเป็นวิทยา (Colleges) ของผู้หญิง เพราะการเล่าเรียนทุกชนิด ตั้งแต่อ่านเขียน เย็บเสื้อผ้า ปักสดึง ร้อยดอกไม้ ปอกลูกไม้ ทำกับข้าวของกิน ทั้งฝึกหัดกิริยาวาจา จะเรียนได้จากในวังทุกสิ่ง

อ่านเพิ่มเติม
อารยสยาม

พระราชสาส์น “ขอคำนับเจริญทางพระราชไมตรี” ถึงกรุงฝรั่งเศส ที่ส่งไปพร้อมเครื่องมงคลราชบรรณาการจากรัชกาลที่ ๔ กล่าวถึงอะไรบ้าง ?

พระราชสาส์นพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม
พระราชทานไปยังกรุงฝรั่งเศส ปี จ.ศ. ๑๒๑๘*

“…พระราชสาส์น ในสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระเจ้ากรุงรัตนโกสินทร์มหินทรายุทธยา ขอคำนับเจริญทางพระราชไมตรี มายังสำนักสมเด็จพระเจ้านโปเลียนที่สาม อัมเปรอ……ผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่ในพระราชอาณาจักรกรุงฝรั่งเศสให้ทรงทราบ

อ่านเพิ่มเติม