กรมศิลปากรเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี ให้เข้าชมฟรีถึง 31 ตุลาคมนี้
บทความพิเศษ กรมศิลปากรเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระ…
บทความพิเศษ กรมศิลปากรเปิดพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระ…
บทความพิเศษ ทาสแมวต้องห้ามพลาด ! เชิญชมนิทรรศการ MAMA M…
บทความพิเศษ มรดกโลกแห่งใหม่ ! ยูเนสโกประกาศภูพระบาทเป็น…
บทความพิเศษ วาระครบรอบปีอุรังคธาตุ มรดกชาติสู่มรดกโลก ก…
บทความพิเศษ เปิดคอลเล็กชันสุดหวงของนักสะสม ที่สุดของนิท…
บทความพิเศษ นิทรรศการศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ “สิปปกรวรร…
บทความพิเศษ ชูโรงละครแห่งชาติภูมิภาค ส่งเสริมการท่องเที…
บทความพิเศษ พิธภัณฑสถานแห่งชาติ พิมาย ปรับโฉมใหม่ตระการ…
บทความพิเศษ เปิดให้ชมนิทรรศการ “เอกสารล้ำค่าจารึกสยาม” …
บทความพิเศษ การซ่อมแซมและตกแต่งเรือพระราชพิธี เมื่อวันศ…
บทความพิเศษ อีกชิ้นกลับไทย ! ชิ้นส่วนสำคัญของปราสาทหินพ…
บทความพิเศษ พบโครงกระดูกมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ แหล่…
บทความพิเศษ นิทรรศการ “เมนูสำรับ กับข้าวเจ้านายในราชสำน…
บทความพิเศษ สำรวจถ้ำเขาค้อม จ.สตูล แหล่งโบราณคดียุคก่อน…
บทความพิเศษ ต้อนรับกลับไทย “Golden Boy” โบราณวัตถุชิ้นส…
บทความพิเศษ เปิดม่านการแสดงละคร “เลือดสุพรรณ” ที่โรงละค…
บทความพิเศษ ทะยานเหนือชั้นบรรยากาศ ยกระดับประสบการณ์ศิล…
บทความพิเศษ From orbit to Conversation 90 ปี อินสนธิ์ ว…
บทความพิเศษ ร่วมติดตามบันทึกภาพงานเสวนา ‘นักสะสมบันทึกส…
บทความพิเศษ เชิญร่วมสรงน้ำพระธาตุและเทวดานพเคราะห์ เนื่…
บทความพิเศษ ชมโบราณวัตถุล้ำค่าพุทธศรัทธาบูชาพระพุทธชินร…
บทความพิเศษ ขอเชิญสักการะพระพุทธรูป “พุทธบูชานาคสัมพัจฉ…
บทความพิเศษ สหรัฐอเมริกาเตรียมคืน 2 โบราณวัตถุล้ำค่า กล…
บทความพิเศษ ขอเชิญชมนิทรรศการพิเศษ “Unseen เปิดคลังพิพิ…
บทความพิเศษ กรมศิลปากรขอเชิญชมนิทรรศการพิเศษ “ตามรอยศรี…
บทความพิเศษ กรมศิลปากรร่วมกับเครือข่ายพิพิธภัณฑ์จัดงาน …
บทความพิเศษ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัต…
บทความพิเศษ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ชวนชมห้องจัดแสดง…
บทความพิเศษ ในสายตาคนฝรั่งเศสในปี ค.ศ. ๑๘๖๑ “…เครื่อง…
บทความพิเศษ นิทรรศการพิเศษ พระพุทธรูปสำคัญในพิพิธภัณฑสถ…
บทความพิเศษ นิทรรศการพิเศษ เรื่อง “ทองคำในงานประณีตศิลป…
บทความพิเศษ Night At The Museum At Villa Musée, Khaoyai…
บทความพิเศษ Treasure of Memories 19th Century Photograp…
บทความพิเศษ ข้าราชการผู้ได้รับเสียงส่วนใหญ่จากราษฎร์ให้…
บทความพิเศษ พระมหาสมณวินิจฉัย “กำหนดว่า ต้นโพธิ์เช่นไรเ…
บทความพิเศษ นักพรตเมืองตรัง สวดถวายชัยมงคลรับเสด็จพระเจ…
บทความพิเศษ เจ้าพระยามหินทรศักดิธำรง เตรียมยกทัพปราบฮ่อ…
บทความพิเศษ เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ ผู้เป็นต้นแบบการท่องเท…
ตรวจดวงพระชตา พระเจ้าแผ่นดินในยุโรป ถ้าจะกล่าวถึงศาสตร์…
เมื่อเจ้าฟ้าบริพัตร ต้องรับหน้าที่สะสางปัญหาในกองทัพเรื…
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เข้าเฝ้าโป๊ป…
บทความพิเศษ ชีวิตของประเทศผ่านภาพถ่ายเก่า ประเทศจีนในช่…
บทความพิเศษ ไปดูงานทางการทหารครั้งแรกของสยาม โดยกรมหลวง…
อารยสยาม เที่ยวทิพย์ ย้อนยุคไปในกรุงเก่า กับภาพถ่าย ๑๐๐…
อารยสยาม เที่ยวทิพย์ ย้อนยุคไปในกรุงเก่า กับภาพถ่าย ๑๐๐…
บทความพิเศษ สงครามฝิ่น: ปัจจัยแห่งความตกต่ำของราชวงศ์แม…
อารยสยาม รับเสด็จ เจ้าชายวิตโตริโอ เอมานูเอเล แห่งซาวอย…
อารยสยามเครื่องมงคลราชบรรณาการ การเมืองและเรื่อง ร.ศ.๑๑…
บทความพิเศษสยามและการออกสำรวจกลุ่มชาติพันธุ์ในพระราชอาณ…
บทความพิเศษออกจับช้างป่า เอาเข้ามาเป็นช้างเผือก ช้าง เป…
บทความพิเศษ“ทับหลังสองปราสาท” : การติดตามทวงคืนสมบัติชา…
บทความพิเศษ สำนักพิมพ์สยาม เรเนซองส์ ได้ส่งหนึ่งผลงานหน…
ขุนนางสยาม พระยาจรัลชวนะเพท (ชุ่ม กสิกผลิน) ครูใหญ่แห่ง…
บทความพิเศษไม่ต้องบินไปดูงานศิลปะระดับโลกที่ไหนไกล เพรา…
ชาวจีนนั้นจะมีช่วงเวลาของการเซ่นไหว้บรรพบุรุษ อย่างใหญ่โต ๒ ครั้งในรอบปี คือพิธีไหว้ในวันตรุษจีน และพิธีไหว้ในวันสารทจีนอีกครั้งหนึ่ง การไหว้บรรพบุรุษ เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ที่ได้เลี้ยงลูกหลานและให้การศึกษาอบรมเป็นอย่างดี เพื่อตอบแทนบุญคุณและระลึกถึงจึงจัดพิธีนี้ขึ้น
ภายหลังจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินกลับจากทวีปยุโรป ในครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ พระองค์มีพระราชประสงค์จะสร้างพระราชนิเวศน์แห่งใหม่ เนื่องด้วยนายแพทย์ประจำพระองค์ชาวตะวันตกกราบบังคมทูลว่า พระบรมมหาราชวังมีอาคารปลูกสร้างแออัด สถานที่คับแคบ อากาศไม่ถ่ายเท ในฤดูร้อนจึงร้อนจัดเป็นเหตุให้ทรงประชวร
สวัสดีปีใหม่ พุทธศักราช ๒๔๖๔
Happy New Year 2021
ขอให้เป็นปีที่ดียิ่งขึ้นไป สำหรับเราทุกคน
อักษรพระนามและนามร่วมกันทั้ง “ฝ่ายหน้า” และ “ฝ่ายใน” รู้หรือไม่ว่า ในอดีตนั้นมีธรรมเนียมการผูกตราประจำพระองค์ของพระบรมวงศานุวงศ์ โดยใช้อักษรพระนามและอักษรนามร่วมกันกับ “ฝ่ายใน” ของเจ้านายพระองค์นั้นๆ ซึ่งมักจะใช้ตราเหล่านี้ในวาระโอกาส “อย่างลำลอง” เช่นพระราชหัตถเลขา ลายพระหัตถ์ส่วนพระองค์ หรือในวาระเหตุการณ์เนื่องในฝ่ายในพระองค์ / ท่านนั้นๆ
“…การรับเสด็จทายาทของเมืองรัสเซียในครั้งนี้ เล่ากันมาว่าเป็นการใหญ่อย่างไม่เคยมี สิ่งไรที่ดีของไทยได้ทำถวายหมด แม้แต่ม่านก็ทำด้วยดอกไม้สดตามวิชาช่างของผู้หญิงไทย จนมีศัพท์ขึ้นใหม่เมื่อเห็นใครทำอะไรใหญ่โต ก็ถามกันว่า “รับซารวิชหรือวันนี้”
เสด็จพ่อทรงเล่าว่า เมื่อมีการรับเสด็จในกรุงเทพฯ แล้ว สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงให้มีการคล้องช้างอย่างไทยถวายซารวิชทอดพระเนตรที่เพนียดเก่าในกรุงศรีอยุธยา ในสมัยนั้นกรมพระคชศาสตร์ (กองช้าง) อยู่ในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ และผู้เชี่ยวชาญในการช้างก็ยังมีอยู่มาก จึงเป็นการน่าดูอย่างยิ่ง
“…มีภาษิตจีนกล่าวว่า “ความมั่งคั่งสืบทอดไม่ถึงสามรุ่น” คำกล่าวนี้ใช้ได้กับทั้งการสืบทอดธุรกิจครอบครัวและการสืบทอดความมั่งคั่งและมั่นคงของแผ่นดิน ในสมัยราชวงศ์ชิง มียุคสมัยที่รุ่งเรืองจนกล่าวกันว่าเป็นยุคทองครั้งสุดท้ายของศักดินาจีน คือรัชสมัยของพระเจ้าคังซี พระเจ้ายงเจิ้ง และพระเจ้าเฉียนหลง รวม ๓ รัชกาล ยาวนานถึง ๑๓๔ ปี
“…ในสมัยก่อนรัชกาลที่ ๖ ขึ้นไปนั้น ในพระบรมมหาราชวัง คือมหาวิทยาลัยของผู้หญิงเรานี่เอง และตามตำหนักพระมเหสี เจ้านายและเจ้าจอมก็คือพวกสำนักเรียนเป็นวิทยา (Colleges) ของผู้หญิง เพราะการเล่าเรียนทุกชนิด ตั้งแต่อ่านเขียน เย็บเสื้อผ้า ปักสดึง ร้อยดอกไม้ ปอกลูกไม้ ทำกับข้าวของกิน ทั้งฝึกหัดกิริยาวาจา จะเรียนได้จากในวังทุกสิ่ง
พระราชสาส์นพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามกุฎ พระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม
พระราชทานไปยังกรุงฝรั่งเศส ปี จ.ศ. ๑๒๑๘*
“…พระราชสาส์น ในสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระเจ้ากรุงรัตนโกสินทร์มหินทรายุทธยา ขอคำนับเจริญทางพระราชไมตรี มายังสำนักสมเด็จพระเจ้านโปเลียนที่สาม อัมเปรอ……ผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่ในพระราชอาณาจักรกรุงฝรั่งเศสให้ทรงทราบ